องค์การเภสัชกรรม

สรรสร้างนวัตกรรมด้วยความใส่ใจเพื่อชีวิต

องค์การเภสัชกรรม

สรรสร้างนวัตกรรมด้วยความใส่ใจเพื่อชีวิต

เข้าสู่ระบบศูนย์ข้อมูลผลิตภัณฑ์

บทความทางการแพทย์

แนวทางการศึกษาวิจัยการใช้กัญชาเมดิคัลเกรด กับโรคสมองเสื่อม 21 พฤศจิกายน 2562

“สำหรับกลุ่มที่สารสกัดกัญชาน่าจะได้ประโยชน์ในการควบคุมอาการ และต้องมีการศึกษาวิจัยนั้น ขณะนี้ทางสถาบันฯ ได้เตรียมศึกษาใน 3 โรค คือ โรคพาร์กินสันที่ควบคุมอาการไม่ได้ โรคปวดประสาทใบหน้า และโรคสมองเสื่อมที่มีภาวะทางจิต...”

ติดตามการวิจัยสารสกัด ‘กัญชาเมดิคัลเกรด’ ต่อภาวะปวดประสาท 21 พฤศจิกายน 2562

ภาวะปวดประสาท เป็น 1 ใน 4 โรค/ภาวะ ที่ทางกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข กำหนดอยู่ในกลุ่มโรคหรือภาวะที่สารสกัดจากกัญชาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ได้

ข้อควรระวังสารสกัดกัญชาเมดิคัลเกรด กับการวิจัยโรคลมชักในเด็ก 21 พฤศจิกายน 2562

ถูกกล่าวถึงกันมากสำหรับความหวังในการนำสารสกัดกัญชาทางการแพทย์มาใช้รักษาโรคลมชักในเด็ก ความเป็นไปได้มีมากน้อยแค่ไหนในส่วนของการวิจัยพัฒนา

เตือน! อันตรายใช้สารสกัดกัญชา นอกเหนือข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ 21 พฤศจิกายน 2562

แม้ขณะนี้หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งองค์การเภสัชกรรม (อภ.) กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข (สธ.) กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก รวมทั้งเครือข่ายมหาวิทยาลัยที่เกี่ยวข้องต่างเดินหน้าวิจัยการใช้สารสกัดกัญชารักษาโรคตามข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ แต่ก็ยังมีข้อควรระวังในการใช้สารสกัดกัญชา เนื่องจากไม่ใช่ว่า ผู้ป่วยทุกคนจะสามารถใช้ในการรักษาโรคได้

ตอบข้อสงสัย “สารสกัดกัญชา” ผลกระทบต่อจิตเวช 20 พฤศจิกายน 2562

แม้สารสกัดกัญชา จะมีประโยชน์ทางการแพทย์ แต่ในแง่ของการรักษากลุ่มอาการทางจิตเวช ก็ยังเกิดคำถามถึงความเป็นไปได้...

แนวทางการใช้สารสกัดกัญชาเมดิคัลเกรด กับโรคผิวหนัง 20 พฤศจิกายน 2562

โรคสะเก็ดเงิน กลายเป็นอีกโรคที่ถูกจับตามองว่า สารสกัดกัญชาทางการแพทย์ อาจเป็นทางเลือกในการรักษาโรคนี้ได้

แนวทางการใช้สารสกัดกัญชาเมดิคัลเกรด กับภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็ง ในผู้ป่วยปลอกหุ้มประสาทส่วนกลางอักเสบ 20 พฤศจิกายน 2562

ภาวะกล้ามเนื้อหดเกร็งในผู้ป่วยปลอกหุ้มประสาทส่วนกลางอักเสบ (Multiple Sclerosis) เป็นโรคที่จัดอยู่ในกลุ่มโรคหรือภาวะที่สารสกัดจากกัญชาได้ประโยชน์ ซึ่งเป็นไปตามข้อบ่งชี้ของกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

สารสกัดกัญชาเมดิคัล เกรด สู่การวิจัย ‘ โรคพาร์กินสัน ’ 20 พฤศจิกายน 2562

ตามที่องค์การเภสัชกรรม ร่วมกับกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ลงนามบันทึกความเข้าใจ การนำกัญชามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ โดยจะนำมาใช้กับผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ ตามข้อบ่งชี้ของทางกรมการแพทย์

แนวทางการศึกษาวิจัยสารสกัดกัญชาทางการแพทย์ ‘สถาบันมะเร็งแห่งชาติ’ 20 พฤศจิกายน 2562

การใช้สารสกัดกัญชามาช่วยควบคุมอาการข้างเคียงของการใช้ยาเคมีบำบัดในผู้ป่วยมะเร็งนั้น ในต่างประเทศใช้กันมานานแล้ว มีผลการศึกษาชัดเจน เพียงแต่ของประเทศไทยจำนวนผู้ป่วยที่มีภาวะข้างเคียงจากยาเคมีบำบัดไม่มากนัก

เปิดความร่วมมือองค์การเภสัชกรรม-กรมการแพทย์ สู่การใช้ประโยชน์สารสกัดกัญชา 20 พฤศจิกายน 2562

เมื่อเร็วๆนี้องค์การเภสัชกรรม ร่วมกับกรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้มีการลงนามบันทึกความเข้าใจ เป็นความร่วมมือในการนำกัญชามาใช้ประโยชน์ทางการแพทย์ โดยจะนำมาใช้กับผู้ป่วยกลุ่มต่างๆ ตามข้อบ่งชี้ของทางกรมการแพทย์

ย้ำอีกครั้ง! ขั้นตอน ปลูก ผลิตกัญชาทางการแพทย์ ตาม พ.ร.บ. ยาเสพติดให้โทษฯ 20 พฤศจิกายน 2562

ประเด็นเกี่ยวกับการอนุญาตปลูก ผลิตสารสกัดกัญชาทางการแพทย์ตามพระราชบัญญัติ(พ.ร.บ.) ยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2562 เกิดคำถามว่า มีหน่วยงานใดบ้างที่มีคุณสมบัติตามกฎหมายสามารถปลูก ผลิตสารสกัดกัญชาทางการแพทย์ รวมทั้งการวิจัยพัฒนาได้

ตอบข้อสงสัย! ผู้ป่วยเข้ารับการรักษาน้ำมันกัญชาทางการแพทย์ได้อย่างไร 20 พฤศจิกายน 2562

เพื่อไขข้อสงสัย และให้เกิดความชัดเจน เรามาทราบข้อมูลกันดีกว่า ว่า เมื่อมีน้ำมันกัญชาทางการแพทย์แล้ว ผู้ป่วยที่จำเป็นต้องใช้กัญชาทางการแพทย์ จะเข้าถึงการรักษาได้อย่างไร